รายงานสถานการณ์โควิด-19 ล่าสุด กรุงเทพมหานคร 1 ม.ค. บาคาร่าออนไลน์ 64 ร.ต.อ.พงศกร ขวัญเมือง โฆษกของกรุงเทพมหานคร เปิดเผยภายหลังการประชุมคณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานคร ว่า สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด-19 ขณะนี้พบการแพร่ระบาดลักษณะกลุ่มก้อนในหลายจังหวัดของภาคตะวันออก ในส่วนของกรุงเทพมหานครพบมีการติดเชื้อลักษณะกลุ่มก้อนในสถานบริการและสถานที่หลายแห่ง
คณะกรรมการจึงได้หารือมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดที่กรุงเทพมหานครได้ประกาศไปแล้ว
เพื่อยกระดับความเข้มข้น การควบคุมการแร่พระบาดโรคโควิด-19 โดยจะมีประกาศปิดสถานที่ในพื้นที่กรุงเทพมหานครตั้งแต่วันที่ 2 ม.ค.เป็นต้นไป ซึ่งจะยกเลิกประกาศฉบับที่กรุงเทพมหานครได้ออกไปแล้วทั้งหมด และใช้ประกาศฉบับใหม่แทน
สถานที่เจาะผิวหนัง หรือส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย อาคารสถานที่ของโรงเรียนหรือสถาบันกวดวิชา หรือสถาบันการศึกษา เป็นต้น
ทั้งนี้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กก่อนวัยเรียน สถาบันกวดวิชา และสถาบันการศึกษากำหนดปิดทำการตั้งแต่วันที่ 4-17 ม.ค. 64 จากนั้นจะพิจารณาตามสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคโควิด-19 อีกครั้ง
ในส่วนของมาตรการสำหรับร้านอาหารอนุญาตให้ซื้อและนำกลับ หรือ Take away โดยไม่ให้มีการบริโภคในร้านอาหาร
ทั้งนี้กรุงเทพมหานครจะหารือกับศูนย์บริหารสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของรัฐบาลในวันพรุ่งนี้ เบื้องต้นคาดว่ามาตรการสำหรับร้านอาหารดังกล่าวจะมีผลบังคับใช้ ในวันที่ 4 ม.ค. เพื่อให้ผู้ประกอบได้มีเวลาในการเตรียมความพร้อม
นอกจากนี้ที่ประชุมได้หารือถึงการจำแนกพื้นที่สถานการณ์การระบาดโรคโควิด-19 ตามที้ ศบค. กำหนดโดยแบ่งระดับพื้นที่ระบาดออกเป็นระดับสี 4 ประเภท ดังนี้
พื้นที่สีแดง พื้นที่ที่ควบคุมสูงสุด คือ มีผู้ติดเชื้อจำนวนมากหรือมีผู้ติดเชื้อในหลายพื้นที่ย่อย
พื้นที่สีส้ม พื้นที่ควบคุม คือ มีการติดเชื้อหรือมีผู้ติดเชื้อมากกว่า 10 ราย หรือพื้นที่ติดกับเขตพื้นที่สีแดง
พื้นที่สีเหลือง พื้นที่เฝ้าระวังสูง คือ มีผู้ติดเชื้อ 1-10 ราย
และพื้นที่สีเขียว พื้นที่เฝ้าระวัง คือ พื้นที่ยังไม่มีผู้ติดเชื้อและยังไม่มีสิ่งบ่งชี้ว่าจะมีผู้ติดเชื้อ โดยขณะนี้คณะกรรมการเห็นชอบให้เขตบางขุนเทียน หนองแขม และบางพลัดเป็นพื้นที่ควบคุมสูงสุด เพื่อให้ผู้อำนวยการเขตมีอำนาจในการบริหารจัดการได้โดยตรง
ราชกิจจานุเบกษา ได้เผยแพร่เอกสารกฎกระทรวง ที่มีกำหนดให้ ลดเงินสมทบประกันสังคมสามเดือน ตั้งแต่ 1 ม.ค. ถึง 31 มี.ค.
ลดเงินสมทบประกันสังคม 3 เดือน – เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา ได้เผยแพร่ กฎกระทรวง เรื่องการกำหนดอัตราเงินสมทบกองทุนประกันสังคม พ.ศ.2563 ซึ่งสำหรับเหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงอัตราเงินสมทบ เพื่อการจ่ายประโยชน์ทดแทนในกรณีประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย กรณีทุพพลภาพ กรณีตาย กรณีคลอดบุตร กรณีสงเคราะห์บุตร กรณีชราภาพ และกรณีว่างงาน
โดยกำหนดให้รัฐบาล นายจ้าง และผู้ประกันตน ตามมาตรา 33 ออกเงินสมทบเข้ากองทุนประกันสังคมในอัตราที่เหมาะสม เพื่อเป็นการบรรเทาภาระของนายจ้างและผู้ประกันตนให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสภาวะเศรษฐกิจและสภาพการณ์ทางสังคมในปัจจุบันที่ได้รับผลกระทบจากการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 จึงจำเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้
สำหรับกฎกระทรวงนี้ ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 ม.ค. พ.ศ. 2564 เป็นต้นไป โดยลดเงินสมทบ 3 เดือน (1 มกราคม 2564-31 มีนาคม 2564) โดยกำหนดอัตราเงินสมทบกองทุนประกันสังคม พ.ศ. 2556 โดยให้รัฐบาล นายจ้าง และผู้ประกันตนตามมาตรา 33 ออกเงินสมทบเข้ากองทุน เพื่อการจ่ายประโยชน์ทดแทนในกรณีประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย กรณีทุพพลภาพ กรณีตาย กรณีคลอดบุตร กรณีสงเคราะห์บุตร กรณีชราภาพ และกรณีว่างงานตามบัญชีอัตราเงินสมทบท้ายกฎกระทรวงนี้ ดังต่อไปนี้
(1) ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2564 ถึงวันที่ 31 มีนาคม 2564 ให้เป็นไปตามอัตราในบัญชี ก. (2) ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2564 เป็นต้นไป ให้เป็นไปตามอัตราในบัญชี ข. (ดูตารางบัญชีด้านล่าง)
เพื่อให้การบริหารจัดการและเตรียมความพร้อมในการป้องกันการระบาดระลอกใหม่ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ตามแนวทางการจัดเขตพื้นที่สถานการณ์ตามข้อกำหนดออกตามความในมาตรา 9 แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ อาศัยอำนาตามความในข้อ 4 (2) ของคำสั่งนายกรัฐมนตรี ที่ 4/2563 เรื่อง แต่งตั้งผู้กำกับการปฏิบัติงาน หัวหน้าผู้รับผิดชอบและพนักงานเจ้าหน้าที่ในการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน ลงวันที่ 25 มี.ค. 2563 และที่แก้ไขเพิ่มเติม นายกรัฐมนตรีในฐานะผู้อำนวยการศูนย์บริหารสถานการณ์โควิด-19 โดยคำแนะนำของศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉินด้านการแพทย์และสาธารณสุขและศูนย์บริหารสถานการณ์โควิด-19 บาคาร่าออนไลน์